อินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง (ประเทศไทย)

หัวข้อทั้งหมดในหน้านี้

Opn Payments จะยุติให้บริการรับชำระเงินออนไลน์ผ่านช่องทางอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งจากธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) และธนาคารกรุงไทย (KTB) ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นต้นไป

อินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการชำระเงินออนไลน์ที่ให้ผู้ซื้อทำรายการผ่านทางเว็บไซต์ธนาคารได้ เพียงแค่สมัครใช้บริการอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งกับธนาคารที่ต้องการไว้

ในเบื้องต้น Opn Payments รองรับการชำระเงินผ่านธนาคารชั้นนำ 4 แห่งดังนี้:

การเปิดรับชำระเงิน

  • ประเทศที่รองรับ: ประเทศไทย
  • API เวอร์ชันล่าสุดที่รองรับ: 2014-07-27

ร้านค้าที่ต้องการเปิดใช้ระบบ อินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง กรุณาส่งอีเมลมาที่ support@opn.ooo ทางทีมงานโอมิเซะจะส่งข้อกำหนดและเงื่อนไขการใช้บริการให้ร้านค้าได้พิจารณาและลงลายมือชื่อก่อนเปิดใช้งานจริง

หากต้องการติดตั้งใช้งานกับ API เวอร์ชัน 2017-11-02 หรือก่อนหน้า กรุณาอ่านคู่มือการติดตั้งของเวอร์ชันก่อนหน้านี้

Supported banks

Bank Service Source type
Bank of Ayudhya (Krungsri) Krungsri Online internet_banking_bay
Bangkok Bank Bualuang iBanking internet_banking_bbl

ขั้นตอนการรับชำระเงิน

การชำระเงินผ่านระบบอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง ผู้ซื้อจะถูกส่งไปยังเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันของธนาคารเพื่อทำรายการ และเมื่อดำเนินการเรียบร้อยจะถูกส่งกลับมายังเว็บไซต์ของร้านค้าอีกครั้ง

internet banking 1

ในขั้นตอนการชำระเงินบนเว็บไซต์ของร้านค้า ผู้ซื้อสามารถเลือกช่องทางการชำระเงินเป็นอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง และเลือกธนาคารที่ต้องการ โดยผู้ซื้อจะถูกส่งไปยังหน้าเว็บไซต์ของธนาคารโดยอัตโนมัติ

จากนั้นหน้าจอจะแสดงรายละเอียดการชำระเงิน ผู้ซื้อยืนยันการชำระเงิน และสามารถเลือกกลับมายังหน้าร้านค้าได้ในขั้นตอนถัดไป

การติดตั้งใช้งาน

ในการสร้างรายการรับชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง ให้ร้านค้าส่งคำสั่ง API ดังนี้

  1. สร้าง payment source (type: internet_banking_bay, หรือ internet_banking_bbl) โดยใช้ Omise.js, omise-ios หรือ omise-android
  2. สร้าง charge โดยใช้ source จากขั้นตอนแรก
  3. เมื่อผู้ซื้อทำรายการสำเร็จและร้านค้าได้รับ webhook event หรือ charge.complete แล้ว เราแนะนำให้ตรวจสอบสถานะรายการด้วยตนเองอีกครั้งเพื่อความแม่นยำ

การสร้าง source เพื่อรับชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง จะเกิดขึ้นในฝั่งของผู้ซื้อ (client-side) เช่นบนเว็บไซต์หรือโทรศัพท์มือถือของผู้ซื้อ ร้านค้าจะต้องใช้ public key

ส่วนการสร้างรายการ (charge) เพื่อรับชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง จะเกิดขึ้นในฝั่งของร้านค้า (server-side) ร้านค้าจะต้องใช้ secret key

หมายเหตุ: หากมีความจำต้องสร้างทั้งรายการและ source ในฝั่งร้านค้า (server-side) สามารถทำพร้อมกันได้เลยโดยการส่งคำสั่ง API เพียงครั้งเดียว และใช้งาน secret key

การสร้าง source


เมื่อผู้ซื้อเลือกชำระเงินผ่านช่องทางนี้ ให้ร้านค้าสร้าง source ผ่าน source API โดยกำหนด amount, currency, และ type

ตัวอย่างด้านล่างนี้เป็นการสร้าง source สำหรับรายการ อินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง จำนวน ฿4,000 ให้แทนค่าของ omise_public_key และ $OMISE_PUBLIC_KEY ด้วย test public key ของร้านค้าซึ่งสามารถคัดลอกได้จาก แดชบอร์ด

หากใช้ Omise.js parameter type เป็นตัวแปรที่จำเป็นของฟังก์ชัน createSource

Omise.setPublicKey(omise_public_key);

Omise.createSource('internet_banking_bay', {
  "amount": 400000,
  "currency": "THB"
}, function(statusCode, response) {
  console.log(response)
});

หากร้านค้าต้องการทดสอบให้สร้าง request โดยใช้ curl

curl https://api.omise.co/sources \
  -u $OMISE_PUBLIC_KEY: \
  -d "amount=400000" \
  -d "currency=THB" \
  -d "type=internet_banking_bay"
{
  "object": "source",
  "id": "src_test_5y3esaui4fgzzn8dqhl",
  "livemode": false,
  "location": "/sources/src_test_5y3esaui4fgzzn8dqhl",
  "amount": 400000,
  "barcode": null,
  "bank": null,
  "created_at": "2023-12-14T09:20:04Z",
  "currency": "THB",
  "email": null,
  "flow": "redirect",
  "installment_term": null,
  "ip": null,
  "absorption_type": null,
  "name": null,
  "mobile_number": null,
  "phone_number": null,
  "platform_type": null,
  "scannable_code": null,
  "billing": null,
  "shipping": null,
  "items": [],
  "references": null,
  "provider_references": null,
  "store_id": null,
  "store_name": null,
  "terminal_id": null,
  "type": "internet_banking_bay",
  "zero_interest_installments": null,
  "charge_status": "unknown",
  "receipt_amount": null,
  "discounts": []
}

ตัวแปรของ id คือ source identifier (เริ่มต้นด้วย src)

การสร้างรายการรับชำระเงิน

สร้างรายการรับชำระเงินโดยระบุ parameter return_uri, source, amount และ currency

  • return_uri จะเป็นตำแหน่งบนเว็บไซต์ของร้านค้าที่ผู้ซื้อจะถูกส่งไปเมื่อยืนยันรายการสำเร็จ
  • source จะเป็นตัวกำหนด source identifier
  • amount และ currency จะต้องมีค่าตรงกับ amount และ currency ของ source

ตัวอย่างด้านล่างนี้แสดงให้เห็นถึงการสร้างรายการรับชำระเงินขึ้นมาใหม่ โดยใช้ curl

ในการสร้างรายการให้ร้านค้าแทน $OMISE_SECRET_KEY ด้วย test secret key ของร้านค้าซึ่งสามารถคัดลอกได้จากแดชบอร์ด และแทน $SOURCE_ID ด้วย id ของ source

curl https://api.omise.co/charges \
  -u $OMISE_SECRET_KEY: \
  -d "amount=400000" \
  -d "currency=THB" \
  -d "return_uri=https://example.com/orders/345678/complete" \
  -d "source=$SOURCE_ID"
{
  "object": "charge",
  "id": "chrg_test_5y3esayr5iax7qgftbx",
  "location": "/charges/chrg_test_5y3esayr5iax7qgftbx",
  "amount": 400000,
  "net": 384378,
  "fee": 14600,
  "fee_vat": 1022,
  "interest": 0,
  "interest_vat": 0,
  "funding_amount": 400000,
  "refunded_amount": 0,
  "transaction_fees": {
    "fee_flat": "0.0",
    "fee_rate": "3.65",
    "vat_rate": "7.0"
  },
  "platform_fee": {
    "fixed": null,
    "amount": null,
    "percentage": null
  },
  "currency": "THB",
  "funding_currency": "THB",
  "ip": null,
  "refunds": {
    "object": "list",
    "data": [],
    "limit": 20,
    "offset": 0,
    "total": 0,
    "location": "/charges/chrg_test_5y3esayr5iax7qgftbx/refunds",
    "order": "chronological",
    "from": "1970-01-01T00:00:00Z",
    "to": "2023-12-14T09:20:05Z"
  },
  "link": null,
  "description": null,
  "metadata": {},
  "card": null,
  "source": {
    "object": "source",
    "id": "src_test_5y3esajlwe99hgs30ek",
    "livemode": false,
    "location": "/sources/src_test_5y3esajlwe99hgs30ek",
    "amount": 400000,
    "barcode": null,
    "bank": null,
    "created_at": "2023-12-14T09:20:03Z",
    "currency": "THB",
    "email": null,
    "flow": "redirect",
    "installment_term": null,
    "ip": null,
    "absorption_type": null,
    "name": null,
    "mobile_number": null,
    "phone_number": null,
    "platform_type": null,
    "scannable_code": null,
    "billing": null,
    "shipping": null,
    "items": [],
    "references": null,
    "provider_references": null,
    "store_id": null,
    "store_name": null,
    "terminal_id": null,
    "type": "internet_banking_bay",
    "zero_interest_installments": null,
    "charge_status": "pending",
    "receipt_amount": null,
    "discounts": []
  },
  "schedule": null,
  "customer": null,
  "dispute": null,
  "transaction": null,
  "failure_code": null,
  "failure_message": null,
  "status": "pending",
  "authorize_uri": "https://pay.omise.co/offsites/ofsp_test_5y3esaytxs0mt51oh1i/pay",
  "return_uri": "https://example.com/orders/345678/complete",
  "created_at": "2023-12-14T09:20:05Z",
  "paid_at": null,
  "expires_at": "2023-12-21T09:20:05Z",
  "expired_at": null,
  "reversed_at": null,
  "zero_interest_installments": false,
  "branch": null,
  "terminal": null,
  "device": null,
  "authorized": false,
  "capturable": false,
  "capture": true,
  "disputable": false,
  "livemode": false,
  "refundable": false,
  "partially_refundable": false,
  "reversed": false,
  "reversible": false,
  "voided": false,
  "paid": false,
  "expired": false
}

การสร้าง source และรายการรับชำระเงิน

ร้านค้าสามารถสร้างทั้ง source และ รายการรับชำระเงิน (charge) ผ่านการเรียกใช้ API เพียงครั้งเดียว

curl https://api.omise.co/charges \
  -u $OMISE_SECRET_KEY: \
  -d "amount=400000" \
  -d "currency=THB" \
  -d "return_uri=http://example.com/orders/345678/complete" \
  -d "source[type]=internet_banking_bay"

สร้างรายการสำเร็จ

เมื่อร้านค้าสร้างรายการรับชำระเงินขึ้นมาแล้ว จะพบว่าสถานะของรายการแสดงเป็น pending หรือ status==pending โดยสถานะของรายการรับชำระเงินสามารถเป็นได้ทั้ง successful, failed และ expired

ในส่วนต่อไปเราจะอธิบายวิธีอนุมัติรายการ, การรับ event แจ้งเตือนเมื่อรายการเสร็จสิ้นผ่าน webhook และการตรวจสอบสถานะรายการ

ภาพด้านล่างนี้แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนทั้งหมดในการรับชำระเงินแต่ละรายการ

sequenceDiagram participant customer participant omise.js participant merchant participant api.omise.co customer->>omise.js: Send payment details for purchase omise.js->>api.omise.co: Request source using payment details api.omise.co-->>omise.js: Return source omise.js->>merchant: Merchant gets returned source merchant->>api.omise.co: Request charge using source and purchase details api.omise.co-xmerchant: Send "charge.create" webhook api.omise.co-->>merchant: Return charge merchant->>customer: Redirect to "authorize_uri" for pending charge customer->>api.omise.co: Provide charge authorization details at "authorize_uri" api.omise.co-->>customer: Redirect to "return_uri" api.omise.co-xmerchant: Send "charge.complete" webhook merchant-xcustomer: Send charge result (e.g. via email)

การอนุมัติรายการรับชำระเงิน

ระบบจะส่งผู้ซื้อไปยังตำแหน่งที่ระบุไว้ใน authorize_uri เพื่อให้ผู้ซื้อสามารถดำเนินการอนุมัติรายการรับชำระเงินได้

ร้านค้าสามารถจำลองขั้นตอนการอนุมัติรายการในโหมดทดสอบ โดยเข้าไปที่ authorize_uri เพื่อปรับสถานะรายการเป็น “สำเร็จ” หรือ “ไม่สำเร็จ” ได้ด้วยตนเอง หลังจากผู้ซื้อทำการอนุมัติรายการเสร็จสิ้น ผู้ซื้อจะถูกส่งไปยังหน้าที่ร้านค้าระบุเป็น return_uri เอาไว้

การรับ event แจ้งเตือนรายการสำเร็จ

ร้านค้าสามารถรับการแจ้งเตือนเมื่อมีการทำรายการเสร็จสิ้นโดยใช้งาน webhook events

ในการติดตั้งให้ร้านค้ากำหนดตำแหน่งบนเซิร์ฟเวอร์เพื่อรับ webhook events และเพิ่มตำแหน่งเดียวกันนี้เป็น webhook endpoint บนแดชบอร์ด

เมื่อมีรายการเสร็จสิ้น ระบบจะส่ง POST request ไปยัง endpoint นี้ พร้อมทั้งแนบสถานะการตอบกลับของรายการนั้นๆ ไปด้วย

ตัวแปรหลักหรือ key สำหรับ event object ประกอบไปด้วย charge.complete และตัวแปร data ที่มี charge object

อ่านเพิ่มเติมได้ที่ Events API

การตรวจสอบสถานะรายการ

เมื่อได้รับ event ของรายการที่เสร็จสิ้นแล้ว ร้านค้าสามารถตรวจสอบสถานะรายการหรือ status โดยใช้ Charge API

หากค่าของ charge.status เป็น successful หมายถึงว่ารายการรับชำระเงินสำเร็จ หากค่าของ charge.status เป็น failed รายการรับชำระเงินนั้นไม่สำเร็จ ร้านค้าสามารถตรวจสอบ failure_code และ failure_message ได้ใน charge object เพื่ออ่านคำอธิบายเพิ่มเติม

สาเหตุขัดข้องที่อาจเกิดขึ้นได้มีดังนี้

รหัสข้อขัดข้อง รายละเอียด
failed_processing ระบบทำรายการไม่สำเร็จ
insufficient_balance วงเงินคงเหลือไม่เพียงพอหรือวงเงินเต็ม
payment_cancelled ผู้ซื้อยกเลิกการชำระเงิน
timeout ผู้ซื้อไม่ยืนยันการทำรายการภายในเวลาที่กำหนด

การยกเลิกรายการและการคืนเงิน

การรับชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งไม่สามารถยกเลิกรายการหรือคืนเงินผ่านระบบ Opn Paymentsได้

ข้อจำกัด

  • จำนวนรับชำระขั้นต่ำ: 2000 (THB20.00)
  • จำนวนรับชำระสูงสุด: 15000000 (THB150,000.00)

ขั้นตอนต่อไป

เว็ปไซต์นี้มีการใช้คุกกี้เพื่อวิเคราะห์การใช้และปรับการใช้งานให้เหมาะกับท่าน เมื่อกดยอมรับหรือยังคงเข้าชมเว็บไซต์ต่อ เราถือว่าท่านยินยอมในการใช้งานคุกกี้ของเว็บไซต์ อ่านนโยบายความเป็นส่วนตัว